วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ

วัน/เดือน/ปี  2  ตุลาคม  2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20.

การเรียนในครั้งนี้ ดิฉันไม่ได้มาเรียน เนื่องจากดิฉันไม่สบาย จึงได้นำข้อมูลจากการเรียนครั้งนี้มาจาก  นางสาวจิตราภรณ์   นาคแย้ม 

ความรู้ที่ได้รับ (knowledge)
                จากเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว อาจารย์ให้เตรียมอุปกรณ์มาคือแกนกระดาษทิชชู่เพื่อนำมาประดิษฐ์สื่อวิทยาศาสตร์โดยใช้อุปกรณ์ดังนี้
  1. แกนกระดาษทิชชู่ (Tissue cores)
  2. ที่เจาะกระดาษ (Punches)
  3. กรรไกร (scissors)
  4. กระดาษ (paper)
  5. เชือก (rope)
วิธีการทำ
  1. ตัดแกนทิชชู่แบ่งกับเพื่อนคนละครึ่ง
  2. ตัดกระดาษเท่ารูปวงกลมของแกนทิชชู่
  3. เจาะรูที่ทิชชู่แล้วนำเชือกมาร้อย
  4. วาดรูปปะไรก็ได้ลงบนกระดาษที่ตัดไว้
  5. นำรูปที่วาดมาคิดไว้บนแกนทิชชู่
  6. นำมาเล่นโดยการคลองเชือกที่คอแล้วขยับเชือกขึ้นลง
โดยสิ่งประดิษฐ์ออกมาเป็นดังรูป


จากนั้นเป็นการรายงานบทความของเพื่อน
  1. บทความเรื่อง สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทย์จากเป็ดและไก่
  2. บทความเรื่อง จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบจากของเล่นวิทยาศาสตร์
  3. บทความเรื่อง สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ
  4. บทความเรื่อง การส่งเสริมกระบวนการคิด
  5. บทความเรื่อง สอนลูกเรื่องอากาศ
 การนำไปประยุกต์ใช้ (apply)
                   เราสามารถนำสิ่งประดิษฐ์ที่ทำในวันนี้ไปสอนเด็กและนำไปสอนในการเสริมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กได้เพราะเด็กจะได้สังเกตว่าเกิดจากอะไรและจะได้ค้นหาคำตอบ ละสามารถนำสื่อไปไว้ในมมวิทยาศาสตร์ได้อีกด้วย
 การประเมินหลังเรียน (assessment)
            ตนเอง (Me) เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรม มีการแบ่งปันอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกับเพื่อน
            เพื่อน (Friends) ส่วนมากเข้าเรียนกันตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรม ตั้งใจฟังอาจารย์สอนกันดี
            อาจารย์ (Teachers) อาจารย์มีการเตรียมการสอนและกิจกรรมที่หลากหลายมาให้ทำ และให้เด็กได้ลงมืแทำด้วยตนเอง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น