วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 28 สิงหาคม 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น. เวลาเข้าเรียน 08.30น. เวลาเลิกเรียน 12.20น.
- ความรู้ที่ได้รับ
v
เด็กปฐมวัย
1.
พฤติกรรม = พัฒนาการ
2.
การเรียนรู้ หรือ การเล่น
3.
การอบรมเลี้ยงดู
v
สติปัญญา แบ่งได้ดังนี้
ความคิด เช่น ความคิดเชิงเหตุผล เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
ความคิดเชิงสร้างสรรค์
การใช้ภาษา
v
พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สติปัญญา ภาษา
สามารถบอกความสามารถของเด็ก
เพื่อจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก
พัฒนาการจะเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
v
พัฒนาการทางด้านสติปัญญา
·
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 การรับรู้
การซึมซับ
·
การเรียนรู้ = การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเพื่อการมีชีวิตรอดในสังคม
·
การรับรู้ = ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
v
วิธีการที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ คือ การเล่น
การเล่น คือ การที่เด็กลงมือกระทำด้วยประสาทสัมผัสทั้ง
5 อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
ที่สำคัญคือเด็กได้มีโอกาสเลือกเล่นด้วยตนเอง
การจัดการเรียนการสอน การออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
คือ ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใมจกับสิ่งรอบตัว
ความพยายามติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด
ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้ อยากเห็น ช่างสังเกต
และคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ จะช่วยเชื่อมโยงเซลล์สมองของเด็ก
เพราะส่งเสริมให้เด็กได้คิดเป็นการเตรียมเด้กให้สามารถเรียนรู้ได้มากขึ้นในวัยที่สูงขึ้นสรุป วิทยาศาสตร์คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัว
ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจธรรมชาติเด็ก
- จะเกิดการปิดกั้นการเรียนรู้ของเด็ก
- ไม่สนใจการค้นพบของเด็ก
- ไม่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็ก
· การประยุกต์ใช้
สามารนำความรู้ที่ได้เรียนไปพัฒนาตนเองในการสอนประกอบวิชาชีพในอนาคตต่อไป
·
การประเมินหลังเรียน
ตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ ตั้งใจเรียนดี
เพื่อน เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกต้องตามระเบียน
วันนี้เพื่อนติดสัมภาษณ์ กยศ. กันเยอะเพื่อนที่มาเรียนค่อนข้างน้อง
แต่เพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียนดี
และร่วมตอบคำถามแสดงความคิดเห็นในการเรียนเป็นอย่างดี
อาจารย์ เข้าสอนตรงเวลา
แต่งกายสุภาพเหมาะสม ให้ความรู้และรายละเอียดอย่างครบถ้วน มีกระบวนการสอนที่ใช้คำถามให้กับเด็ก
เพื่อกระตุ้นให้เด็กสนใจและร่วมกันตอบคำถามในห้อง
เพื่อให้มีส่วนร่วมในชั้นเรียนทุกคน